สมมุติฐานของข้าพเจ้า เรื่องการเกิดดับของกาแลคชี

1.    อ้างอิงข้อมูลภาพจากเว็บ(Picture from web) http://hubblesite.org/gallery/  

2.    อ้างอิงข้อมูลจาก พระอรรถกถา ในตำราพุทธศาสนา

3.    อ้างอิงเรื่องที่ไม่จัดเป็นหลักฐานแต่เป็นข้อมูลแรกที่นำไปสู่การศึกษาและทำเว็บเพ็จนี้

4.    อ้างอิงทฤษฎีเก่าเรื่องการเกิดบิกแบ็ง(Big Bang) 

 

 

                     สมมุติฐานใหม่ของข้าพเจ้าที่ตั้งขึ้นไว้ เมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ 2547 (18 October 2003) ดังนี้
       1.
  เอกภพ มีกาแลกชี หรือโลกธาตุ หรือจักรวาล หาที่สิ้นสุดไม่ได้ จึงหาที่สุดของเอกภพไม่ได้
       2.
  การดับสลาย ของกาแลกชี หรือโลกธาตุ หรือจักวาล เป็นการเกิดดับเป็นกลุ่มๆ เป็นส่วนๆ เท่านั้น
       3.
  เอกภพ เป็นอยู่อย่างนั้นหาที่สุดไม่ได้ หาที่มาในอดีตและหาที่สิ้นสุดในอนาคตไปไม่ได้ แต่จะเปลี่ยนแปลงภายในอยู่อย่างไม่สิ้นสุด
       4.  1
กัปหมายถึง จักรวาล(รวมภพเทวดา พรหม)หรือโลกธาตุ ที่พระพุทธเจ้าพึงบังเกิดขึ้นได้ ดับสลายแล้วเกิดใหม่ขึ้นมาหนึ่งครั้ง และในการทำลายล้างนั้นอาจครอบคลุมหลายหลายจักรวาล หรือหลายโลกธาตุ หรือหลายกาแลกชีที่เคลื่อนที่มารวมกันก็ได้

                                       วิเคาระห์สมุมติฐานตามอ้างอิงข้อมูล ทั้ง 4 ข้อด้านบน

                      อ้างอิงทฤษฎีเก่าเรื่องการเกิดบิกแบ็ง(Big Bang)

       จากทฤษฎีการเกิด บิกแบ็ง(big bang)  นั้นยูนิเวิลด์(Universe) หรือระบบสากลจักรวาล ได้เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ในคราเดียวกันเมื่อเกิดการระเบิดใหญ่ เกิดขึ้นเป็นระบบสากลจักรวาล ที่กำลังเคลื่อนที่ห่างออกจากกัน  เริ่มเมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้ว เนื่องจากทางวิทยาศาสตร์ ได้ทำการวัดและประเมินอายุของโลกเราถึงปัจจุบันนี้ประมาณ 4,000 ล้านปี และได้ทำการประเมินอายุดวงอาทิตย์ถึงปัจจุบันได้ประมาณ 4,500 ล้านปี และเมื่อประเมินกลุ่มดาวฤกษ์เก่าแก่ในกาแลคชีทางช้างเผือกของเรามีอายุขณะนี้ประมาณ หมื่นล้านปีเท่านั้น และเมื่อไปประเมินอายุกาแลคชีใกล้ๆ กันใน Local Group ก็มีอายุประมาณ 10,000 – 13,000 ล้านปี ซึ่งจะมีอายุใกล้เคียงกันกับอายุของกาแลคชีในกลุ่มกาแลคชี Virgo cluster อื่นที่อยู่ไกลออกไปและกำลังเคลื่อนที่ห่างออกไปจากเราเรื่อยๆ  จึงทำให้เกิดทฤษฎีบิกแบ็ง(big bang) คือจักรวาลเริ่มเกิดเมื่อมีการระเบิดใหญ่ที่เดียวทั่วทั้งหมด

 

            อ้างอิงเรื่องที่ไม่จัดเป็นหลักฐานแต่เป็นข้อมูลแรกที่นำไปสู่การศึกษาและทำเว็บเพ็จ

         เป็นข้อมูลที่ผมได้ตั้งกระทู้ในเว็บลานธรรม เมื่อ October 2003 ปี ค.ศ นี้แหละจะนำไปสู่การวิเคราะห์ต่อไป เพราะในปี ค.ศ 2003 นั้นผมยังมีข้อมูลน้อย คือเพียงแต่รู้จักตามทฤษฎีการเกิดบิกแบ็ง(big bang)กับข้อมูลทางดาราศาสตร์แบบเดิม แต่การได้สนทนากับโอปาติกะท่านสำคัญ ทำให้ความคิดของผมขัดแย้งกันเอง ดังเนื้อความที่สนทนาข้างล้างนี้.

                ข้อมูลต่อไปนี้เป็นข้อมูลพิสดารล้วนๆ เทียบระหว่างสิ่งที่ได้สนทนากับผู้อยู่ต่างภพ อิงกับวิทยาศาสตร์ และวิเคราะห์ดูเพื่อความเป็นไปได้ เพราะในครั้งนี้ผมได้ถามเรื่องกัป เรื่องขนาดของชั้นจาตุมหาราชิกาอย่างตรงๆ (ข้อมูลทั้งหมดต่อไปนี้อ่านเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา อย่างได้ไปยึดมั่นถือมั่นโดยเชื่อหรือมีอคติไปเสียก่อน ผมเองก็พยายามดำรงจิตเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาเหมือนกัน วางใจไว้กลาง)
         
เริ่มเรื่อง ประวัติท่านผู้อยู่ต่างภพตามคำบอกเล่าของท่าน ในชาติก่อนที่ท่านได้เกิดเป็นเทวดานั้นท่านได้เกิดเป็นมนุษย์ ได้ปฏิบัติสมาธิจนได้อภิญญา แต่ใจท่านปรารถนาสิ่งที่ยิ่งใหญ่ คือปรารถนาพุทธภูมิ เมื่อท่านใช้อภิญญาดู อดีตชาติที่สร้างบารมีมานั้นนับประมาณไม่ได้ แต่ก็ยังไม่ได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า และเมื่อท่านดูไปอนาคตว่าจะสำเร็จเมื่อไหรก็ไม่เห็นวี่แววเลย ท่านจึงละความปรารถนานั้น เพื่อบรรลุนิพพานในปัจจุบันชาติ จึงทิ้งสมาธิและอภิญญาทั้งหมด แล้วท่านก็ปฏิบัติวิปัสสนาล้วน ได้บรรลุเป็นพระโสดาบันในขณะที่เป็นมนุษย์นั้น แล้วได้มรณภาพไปเกิดเป็นเทวดาบนชั้นดุสิต เมื่อเหตุพร้อมได้ก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ เมื่อสามวันโลกมนุษย์ ก่อนวันหน้า ก่อนที่ท่านจะดับขันธ์ในคืนวันเสาร์ที่ผ่านมา ก็ได้มาสนทนากับข้าพเจ้า หลายเรื่องแต่ผมจะคัดมาเฉพาะเรืองกัป หรืออายุของกัป เพียงอย่างเดียว ดังนี้

ผมถาม "พระคุณท่านครับ 1 กัป นานมากไหมครับ?"

ท่านตอบ " 1 กัปนั้นนานมากๆ จะนับเป็นปีนั้นคงไม่ได้"

ผมถาม " 1 กัป นั้นนานเป็นจำนวนปีที่แน่นอนไหม?"

ท่านตอบ " ไม่แน่นอน"

ผมจึงถามว่า " 1 กัปคือระยะเวลาเฉาะดวงอาทิตย์นี้ เกิดดับหนึ่งครั้งใช่ไม่?"

ท่านตอบว่า "ไม่ใช่"

ผมถาม "แล้วจะประมาณได้อย่างไร"

ท่านเข้าสมาธิไปพักใหญ่ แล้วกล่าวว่า "1 กัป ก็คือ เทพเทวดา พรหม ในจักรวาลนี้ พังทลายสลายไปหนึ่งครั้ง จึงนับว่า 1 กัป"

ผมจึงถามว่า "เฉพาะ จักรวาลนี้เท่านั้นหรือครับ"

ท่านตอบว่า "ไม่ใช่อย่างนั้น"

ผมจึงถามว่า "ถ้าอย่างนั้น 1 กัป ก็คือ ทั้งหมดทั้งมวลทุกๆ จักรวาล ทุกๆ โลกธาตุ ดับสลายพร้อมกันในหนึ่งครั้งใช่ไหมครับ"

         ท่านจึงเข้าสมาธินิ่งไปอีกพักใหญ่ แล้วกล่าวว่า " โลกธาตุแต่ละโลกธาตุ เกิดดับไม่พร้อมกัน บางโลกธาตุก็กำลังดับ บางโลกธาตุก็กำลังเกิดขึ้นมาใหม่ แต่ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสนั้นพระองค์ทรงถือเอาจักรวาลหรือโลกธาตุที่พระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้นได้เป็นหลัก ดังที่พระองค์บังเกิดขึ้นนี้ ว่าเมื่อใดที่ โลก เทวดา พรหม ในจักรวาลที่พระพุทธเจ้าพึงปรากฏได้ ดับสลายไปหนึ่งครั้งคือ 1 กัป"
ตอนนี้ผมย่อมรับว่าผมพลิกความเข้าใจแทบไม่ทัน อึ่งกับข้อมูลเก่าที่มีอยู่ในสมองนิ่งไปพักหนึ่งเพื่อปรับความเข้าใจ ไม่รู้จะถามอย่างไรต่อดี แต่ก็ด้นถามไป

ผมจึงถามต่อไปว่า "ดังนั้นการทำลายล้างตอนสิ้นกัปนั้น ก็ปรากฏขึ้นกับหลายจักรวาลชิ ครับ"

ท่านตอบว่า "ใช่ บางคราวก็มาก บางคราวก็น้อย"

ผมจึงถาม "ก็หมายความว่าอาจจะพังสลายไปทั้งโลกธาตุ"

ท่านตอบว่า " ก็คงใช่เหมือนกัน"

ผมจึงถาม " ก็หมายถึงกาแลกชีทั้งกาแลกชีนี้ นี้สิครับ"

ท่านตอบว่า "ก็คงใช่ได้เหมือนกัน"

และท่านก็เสริมว่า "คงไม่ใช่ ทุกๆ โลกธาตุ หรือทุกๆ กาแลกชี ทั้งหมดพังสลายไปพร้อมๆ กันและเกิดขึ้นมาใหม่"
ตอนนี้ข้อมูลเก่าและข้อมูลใหม่ในสมองผมตีกันยุ่งเลย เพราะสมมุติฐานที่ผมคิดว่า เอกภพทั้งหมดทั้งมวลเกิดทำลายล้างพร้อมกันในคราวเดียวกัน แล้วเกิด บิกแบ็ง มาใหม่อีกครั้งหนึ่งย่อมผิดพลาด และผมวิเคราะห์พระสูตรเรืองการทำลายล้างผิดพลาดไปด้วย

                สรุป ผมจึงได้สมมุติฐานใหม่ขึ้นมาว่า
       1.
  เอกภพ มีกาแลกชี หรือโลกธาตุ หรือจักรวาล หาที่สิ้นสุดไม่ได้ จึงหาที่สุดของเอกภพไม่ได้
       2.
  การดับสลาย ของกาแลกชี หรือโลกธาตุ หรือจักวาล เป็นการเกิดดับเป็นกลุ่มๆ เป็นส่วนๆ เท่านั้น
       3.
  เอกภพ เป็นอยู่อย่างนั้นหาที่สุดไม่ได้ หาที่มาในอดีตและหาที่สิ้นสุดในอนาคตไปไม่ได้ แต่จะเปลี่ยนแปลงภายในอยู่อย่างไม่สิ้นสุด
       4.  1
กัปหมายถึง จักรวาล(รวมภพเทวดา พรหม)หรือโลกธาตุ ที่พระพุทธเจ้าพึงบังเกิดขึ้นได้ ดับสลายแล้วเกิดใหม่ขึ้นมาหนึ่งครั้ง และในการทำลายล้างนั้นอาจครอบคลุมหลายหลายจักรวาล หรือหลายโลกธาตุ หรือหลายกาแลกชีที่เคลื่อนที่มารวมกันก็ได้

       จากที่ผมสรุป น่าจะเข้ากันได้กับสมมุติฐานใหม่ ของทางดาราศาสตร์ ก็เป็นไปได้ และหลังจากนั้นผมก็ได้สนทนากับเทพชั้นดุสิตอีกท่านหนึ่ง และได้ถามตรงๆ กับท่าน(ตัดมาเพียงมาบางส่วน)
ผมถามว่า "ขนาดของโลกมนุษย์ เท่าใดกับกับภพของท่าน"
ท่านนิ่งคิดอยู่พักหนึ่งก็ตอบว่า "ขนาดเท่ากับเมล็ดถัวเขียวของโลกท่าน"
.
.
ผมได้ถามอีกคำถามหนึ่งว่า "ขนาดของภพชั้นจาตุ มีขนาดไหนได้"
ท่านตอบว่า "ขนาดใหญ่โตมากท่าน ไม่มีอะไรเปรียบเทียบกับโลกของท่านได้"
ผมจึงถามว่า " เท่ากับระทางจากโลกไปดวงจันทร์ไหม?"
ท่านตอบว่า "โตมากกว่านั้นมากๆ"
ผมจึงถามว่า "เท่ากับระทางทางจากโลกไปดวงอาทิตย์ไหม?"
ท่านตอบว่า "โตมากกว่านั้นมาก"
              ถึงตรงนี้ผมไม่รู้จะเอาอะไรเปรียบเทียบแล้วจึงถามว่า "ขาดถึงระยะทางจากดวงอาทิตย์ดวงนี้ไปยังอีกดวงที่อยู่ใกล้หรือไม่"
ท่านตอบว่า "ไม่ใหญ่ถึงขนาดนั้นหรอก"
ผมจึงถามว่า "ท่านลองประมาณให้ผมดูชีครับ"
ท่านก็นิ่งไปผักหนึ่ง แล้วกล่าวว่า "กว้างประมาณ 20 เท่าของระยะทางจากโลกไปยังดวงอาทิตย์"

เมื่อผมคำนวณดู คือ 93 ล้านไมลคุณกับ 20 ก็ได้ภพชั้นจาตุมหาราชิกากว้างประมาณ สองพันล้านไมลที่เดียว

ผมขอจบข้อมูลเพียงแค่นี้ก่อนนะครับ

ตอบโดย: Vicha 18.. 47 - 13:29 

             และจากการสนทนานี้ทำให้ผมไปค้นหาศึกษาข้อมูลเพิ่มในอรรถกถาในเวลาต่อดังข้างล่าง           

                                    อ้างอิงข้อมูลจาก พระอรรถกถา ในตำราพุทธศาสนา

                                           จากอรรถกถาเล่มที่ 1
              
ในกาลใด กัปย่อมพินาศไปเพราะไฟ, ในกาลนั้น โลกย่อม ถูกไฟเผา ภายใต้ตั้งแต่ชั้นอาภัสสระลงมา.
              
ในกาลใด กัปย่อมพินาศไปเพราะน้ำ ในกาลนั้น โลกย่อมถูกน้ำทำลายให้แหลกเหลวไป ภายใต้ตั้งแต่ชั้นสุภกิณหะลงมา.
              
ในกาลใด กัปย่อมพินาศไปเพราะลม, ในกาลนั้น โลกย่อมถูกลมพัด ให้กระจัดกระจายไป ภายใต้ตั้งแต่ชั้นเวหัปผละลงมา.
                
ก็โดยส่วนมาก* พุทธเขตอย่างหนึ่ง (คือเขตของพระพุทธเจ้า) ย่อมพินาศไป แม้ในกาลทุกเมื่อ.
[พุทธเขต ๓ พร้อมทั้งอรรถาธิบาย]
          
ขึ้นชื่อว่า พุทธเขต (คือเขตของพระพุทธเจ้า) มี ๓ คือ ชาติเขต (คือเขตที่ประสูติ) ๑ อาณาเขต (คือเขตแห่งอำนาจ) ๑ วิสัยเขต (คือ เขตแห่งอารมณ์ หรือความหวัง) ๑.
         
ในพุทธเขต ๓ อย่างนั้น
     
สถานเป็นที่หวั่นไหวแล้ว เพราะเหตุทั้งหลาย มีการถือปฏิสนธิเป็นต้น ของพระตถาคต ชื่อ ชาติเขต ซึ่งมีหมื่นจักรวาลเป็นที่สุด.
     
สถานที่อานุภาพแห่งพระปริตรเหล่านี้ คือ รัตนปริตร เมตตาปริตร ขันธปริตร ธชัคคปริตร อาฏานาฏิยปริตร โมรปริตร เป็นไปชื่อว่า อาณาเขต ซึ่งมีแสนโกฏิจักรวาลเป็นที่สุด.
      
เขตเป็นที่พึ่งซึ่งพระองค์ทรงระลึกจำนงหวัง ที่พระองค์ทรงหมายถึง ตรัสไว้ว่า ก็หรือว่า ตถาคตพึงหวังโลกธาตุมีประมาณเพียงใด ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่า วิสัยเขต ซึ่งมีประมาณหาที่สุดมิได้.
       
บรรดาพุทธเขตทั้ง ๓ เหล่านั้น อาณาเขตอย่างหนึ่ง ย่อมพินาศไป ดังพรรณนามาฉะนี้. ก็เมื่ออาณาเขตนั้นพินาศอยู่ ชาติเขตก็ย่อมเป็นอันพินาศ ไปด้วยเหมือนกัน. และชาติเขตเมื่อพินาศไป ก็ย่อมพินาศโดยรวมกันไปทีเดียว.
       
แม้เมื่อดำรงอยู่ ก็ย่อมดำรงอยู่โดยรวมกัน.

                                     สรุปได้ว่า พุทธเขตมี 3 เขต คือ
       
1.ชาติเขต มีหมื่นจักรวาล ที่สว่างและหวั่นไหว เมื่อพระมหาโพธิสัตว์ ปฏิสนธิ ประสูติ และตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้า
       
2. อาณาเขต มีล้านล้านจักรวาล ที่อำนาจของพุทธคุณไปถึงได้ (ก็คือกลุ่มกาแลคชี ที่รวมกาแลคชีทางช้างเผือกนี้ด้วย)
       
3. วิสัยเขต มีจักรวาลหรือโลกธาตุประมาณหาที่สุดมิได้ ที่พระพุทธเจ้าพึงรู้ได้ (ทรงรู้ไปได้ทั่วทุกๆ กาแลคชี)
       
วิเคราะห์ตามอรรถกถา เมื่อตอนสิ้นกัป หมายถึง 1. อาณาเขตและ 2. ชาติเขต ที่มีจักรวาลถึงแสนโกฏิจักรวาล (ล้านล้านจักรวาล) ก็คือกลุ่มกาแลคชีในอาณาบริเวณทางช้างเผือกทั้งหมด พังจนหมดสิ้นจนไม่มีเหลือ ซึ่งไม่ใช่จักรวาลเดียวหรือโลกที่มนุษย์โลกเราอยู่นี้ พังจนหมดสิ้นเพียงจักรวาลเดียว แต่หมายความว่าพังสลายไปทั้งหมดในกลุ่มกาแลคชีทางช้างเผือก(มีอยู่หลายกาแลคชีที่ใกล้กัน ที่อัดเข้ามารวมกัน) แต่กาแลคชีอื่นหรือโลกธาตุอื่นที่อยู่ไกลออกไปมากๆ หาได้พังสลายไปพร้อมกันไม่ ก็คือ กลุ่มกาแลคชีแต่ละกลุ่มมีการเกิดแล้วยุบรวมตัวกันแล้วสลาย แล้วเกิดใหม่แล้วยุบรวมตัวกันแล้วสลาย ไปตามธรรมชาติแต่หาได้สลายไปพร้อมกันที่เดียว และการนับว่า 1 กัป นั้น จำนงหมายเอาแต่โลกธาตุหรือกาแลคชีที่จะมีหรือที่มีพระพุทธเจ้าอุบัติปรากฏขึ้นได้เท่านั้น เกิดขึ้นแล้วพังสลายไปหนึ่งรอบเป็น 1 กัป และเมื่อก่อตัวเป็นโลกธาตุสมบูรณ์(กาแลคชี)ใหม่ จึงนับเป็น กัป ต่อไป

             จากพระอรรถกาผมวาดภาพเปรียบเทียบคร่าวๆ ให้ตอนสิ้นกับป์ดังนี้

           

 

            จากข้อมูลที่อ้างอิงทั้ง 2 ส่วนนี้ คือ  ข้อมูลเรื่องพุทธเขตในพระอรรถกถา ที่มีมานานแล้วถึงสองพันกว่าปี และ ข้อมูลที่ผมได้มาอย่างพิสดารจากการสื่อสนทนากับโอปาติกะ จึงขัดแย้งกับทฤษฎีการเกิด บิกแบ็ง(big bang) อย่างชัดเจน

             เมื่อได้รับข้อมูลในตอนแรกทำให้ผมชึ่งจบมาทางวิทยาศาสตร์ สับสนจนต้องตั้งสมมุติฐานขึ้นมาเอง ปฏิเสธทฤษฎีการเกิด บิกแบ็ง(big bang) อย่างสิ้นเชิงตั้งแต่นั้นมาแต่ก็ไม่มีข้อมูลใดมาสนับสนุนเมื่อ ค.ศ 2003 หรือ พ.ศ 2547 ผมจึงวางทิ้งไป .

              ด้วยจากเหตุที่ผมให้ข้อมูลระยะทางของกาแลคชีผิดไปในกระทู้ของเว็บลานธรรมกระทู้หนึ่ง ทำให้ผมรู้สึกไม่สบายใจ ต้องไปค้นคว้าหาข้อมูลระเอียดให้ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง จนกระทั้งเข้าไปค้นหาข้อมูล กอลอรีภาพของทางนาช่า(Nasa) ผมได้ข้อมูลภาพใหม่ในวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ 2549 นี้เอง เป็นที่น่าอัศจรรย์กับการสื่อสนทนากันกับ เทพอรหันต์ที่ทรงอภิญญาด้วยเคยปรารถนาพุทธภูมิ ประมาณเดือน กันยายน พ.ศ 2547 หรือ ค.ศ 2003 ดังประโยคที่ผมตัดมาปะข้างล่างนี้

 

ผมถาม "พระคุณท่านครับ 1 กัป นานมากไหมครับ?"

ท่านตอบ " 1 กัปนั้นนานมากๆ จะนับเป็นปีนั้นคงไม่ได้"

ผมถาม " 1 กัป นั้นนานเป็นจำนวนปีที่แน่นอนไหม?"

ท่านตอบ " ไม่แน่นอน"

ผมจึงถามว่า " 1 กัปคือระยะเวลาเฉาะดวงอาทิตย์นี้ เกิดดับหนึ่งครั้งใช่ไม่?"

ท่านตอบว่า "ไม่ใช่"

ผมถาม "แล้วจะประมาณได้อย่างไร"

ท่านเข้าสมาธิไปพักใหญ่ แล้วกล่าวว่า "1 กัป ก็คือ เทพเทวดา พรหม ในจักรวาลนี้ พังทลายสลายไปหนึ่งครั้ง จึงนับว่า 1 กัป"

ผมจึงถามว่า "เฉพาะ จักรวาลนี้เท่านั้นหรือครับ"

ท่านตอบว่า "ไม่ใช่อย่างนั้น"

ผมจึงถามว่า "ถ้าอย่างนั้น 1 กัป ก็คือ ทั้งหมดทั้งมวลทุกๆ จักรวาล ทุกๆ โลกธาตุ ดับสลายพร้อมกันในหนึ่งครั้งใช่ไหมครับ"

         ท่านจึงเข้าสมาธินิ่งไปอีกพักใหญ่ แล้วกล่าวว่า " โลกธาตุแต่ละโลกธาตุ เกิดดับไม่พร้อมกัน บางโลกธาตุก็กำลังดับ บางโลกธาตุก็กำลังเกิดขึ้นมาใหม่ แต่ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสนั้นพระองค์ทรงถือเอาจักรวาลหรือโลกธาตุที่พระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้นได้เป็นหลัก ดังที่พระองค์บังเกิดขึ้นนี้ ว่าเมื่อใดที่ โลก เทวดา พรหม ในจักรวาลที่พระพุทธเจ้าพึงปรากฏได้ ดับสลายไปหนึ่งครั้งคือ 1 กัป"
ตอนนี้ผมย่อมรับว่าผมพลิกความเข้าใจแทบไม่ทัน อึ่งกับข้อมูลเก่าที่มีอยู่ในสมองนิ่งไปพักหนึ่งเพื่อปรับความเข้าใจ ไม่รู้จะถามอย่างไรต่อดี แต่ก็ด้นถามไป

ผมจึงถามต่อไปว่า "ดังนั้นการทำลายล้างตอนสิ้นกัปนั้น ก็ปรากฏขึ้นกับหลายจักรวาลชิ ครับ"

ท่านตอบว่า "ใช่ บางคราวก็มาก บางคราวก็น้อย"

ผมจึงถาม "ก็หมายความว่าอาจจะพังสลายไปทั้งโลกธาตุ"

ท่านตอบว่า " ก็คงใช่เหมือนกัน"

ผมจึงถาม " ก็หมายถึงกาแลกชีทั้งกาแลกชีนี้ นี้สิครับ"

ท่านตอบว่า "ก็คงใช่ได้เหมือนกัน"

และท่านก็เสริมว่า "คงไม่ใช่ ทุกๆ โลกธาตุ หรือทุกๆ กาแลกชี ทั้งหมดพังสลายไปพร้อมๆ กันและเกิดขึ้นมาใหม่"

                ข้อมูลการสนทนาข้างบนนั้นกลับมาตรงกับข้อมูลภาพของทางนาช่า ที่เพิ่งถ่ายภาพกาแลคชีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ได้พอดี ในปี ค.ศ 2003 ดังข้อมูลอ้างอิงที่ผมยกมาทั้งภาพและการอธิบายของทางนาช่า ข้างล่างนี้

                         อ้างอิงข้อมูลภาพจากเว็บ(Picture from web) http://hubblesite.org/gallery/)

                     

       NASA's Hubble Space Telescope snapped a view of what may be the youngest galaxy ever seen. This "late bloomer" may not have begun active star formation until about 13 billion years after the Big Bang. Called I Zwicky 18 [below, left], the galaxy may be as young as 500 million years old. This youngster has gone though several sudden bursts of star formation - the first only some 500 million years ago and the latest only 4 million years ago. This galaxy is typical of the kinds of galaxies that inhabited the early universe. The galaxy is classified as a dwarf irregular galaxy and is much smaller than our Milky Way.
        The two major starburst regions are the concentrated bluish-white knots embedded in the heart of the galaxy. The wispy blue filaments surrounding the central starburst region are bubbles of gas that have been heated by stellar winds and intense ultraviolet radiation unleashed by hot, young stars. The redder stars are slightly older stars and star clusters, but they are still less than 1 billion years old. A companion galaxy lies just above and to the right of the dwarf galaxy. The companion may be interacting with the dwarf galaxy and may have triggered that galaxy's recent star formation. The red blobs surrounding the dwarf galaxy are the dim glow from ancient fully formed galaxies.
This image was taken with Hubble's Advanced Camera for Surveys in 2003.
        Credit: NASA, ESA, Y. Izotov (Main Astronomical Observatory, Kyiv, UA) and T. Thuan (University of Virginia)
     Image Type: Astronomical
     STScI-PRC2004-35

      ต่อไปผมจะถอดความบางส่วนจากภาษาอังกฤษตามที่ผมถอดความได้ ตามภาษาคนที่เรียนภาษาอังกฤษมาไม่มากดังนี้

        กล้อง ฮับเบลของนาช่า ได้จับภาพกาแลกชีที่อาจเป็นกาแลกชีที่เกิดใหม่ที่ไม่เคยเห็นมาก่อน  เป็นการแสดงให้เห็นถึงความผิดพลาดล่าสุดของสมมุติฐานหรือทฤษฎีบิกแบ็ง(Big bang) ที่กล่าวว่า เอกภพหรือกาแลคชีเกิดมาพร้อมกันครั้งเดียวประมาณ 13 พันล้านปี หรือ 13,000ล้านปีมาแล้ว เพราะกาแลคชี I Zwicky 18 ภาพล่างช้าย เป็นกาแลคชีเพิ่งเกิดใหม่ ประมาณ 500 ล้านปีมานีเอง ดวงดาวที่เกิดภายในกาแลคชีนั้นก็อายุประมาณ 500 ล้านปีและที่มีอายุน้อยก็ประมาณ 4 ล้านปีมานี้เอง กาแลคชีใหม่นี้ยังเป็นกาแลคชีทรงอิสระ(dwarf irregular galaxy) และมีขนาดเล็กกว่ากาแลคชีทางช้างเผือกของเรา( our Milky Way)  

---------------------------------------------------------- จบถอดความส่วนหนึ่ง -----------------------------------------------------------------

       ต่อไปนี้ เป็นข้อสังเกตุและสมมุติฐานของผมอีกสมมุติฐานหนึ่ง(30 สิงหาคม พ.ศ 2549 หรือ 30 August 2003) จากภาพกลุ่มดาวด้านบนมุมขวา นั้นก็กำลังก่อตัวเกิดเป็นอีกกาแลคชีหนึ่ง อาจจะกำลังเคลื่อนที่ห่างออกไปจากาแลคชี I Zwicky 18 ที่เป็นผลมาจากแรงเฉยที่เหลื่อจากที่ได้ผลักกลุ่มก๊าชเหลวและก๊าชและอนุภาค ทีกลุ่มก๊าชเหลวและก๊าชและอนุภาคค่อยๆ มีแรงดึงระหว่างมวล ดึงมารวมกันเป็นกลุ่ม เพื่อพัฒนาเป็นกาแลคชีต่อไป   เนี่องจากเมื่อเวลานานๆ ๆ มาแล้ว ก่อนหน้านี้มวลสารต่างๆ ก็คือกาแลคชีเก่าต่างๆ ที่อยู่ในอาณาบริเวณนั้น เข้ามาอัดรวมกันเข้าสู่จุดศูนย์กลาง จนมีแรงมหาศาสถึงจุดหนึ่ง ก็ระเบิดยิ่งกว่าชุปเปอร์โนวา ผลักออกจากกันกลายเป็นกลุ่มก๊าชเหลวและก๊าชเบาและฝุ่นอนุภาคกระจายออกเป็นอนาบริเวณกว้าง หลังจากนั้นเมื่อเวลาผ่านไปยาวนานๆ อาณาบริเวณเหล่านั้นก็มืดมิดไปหมด คือไม่มีแสงสว่าง กลุ่มก๊าชเหลวเหล่านั้นที่กระจายออกไป ก็มีแรงดึงดูดระหว่างมวล ดึงก๊าชเหลวและก๊าชเบาให้มารวมกันแต่ก็ทำได้น้อย จึงเป็นเสมือเป็นของเหลวกลุ่มก๊าชและฝุ่นที่ไม่มีแสงสว่างการจายเป็นหย่อมๆ ไปทั่ว อาณาบริเวณ    ส่วนกลุ่มกาแลคชีอื่นๆ ก็อยู่ไกลมากๆ แรงดึงระหว่างมวลจึงไม่มีกำลังพอที่จะดึงของกลุ่มก๊าชเหลวและก๊าชรวมทั้งฝุ่น เหล่านี้ไปได้ แต่ถ้าเกิดมีกลุ่มกาแลคชีอื่นใกล้ ๆ เข้ามา หรือวิ่งเข้ามาหากันก็สามารถรวมเป็นกลุ่มเดียวกันได้เหมือนกัน

        เมื่อเวลาผ่านไปอีกนานแสนนานๆ  แรงผลักนั้นก็ย่อมน้อยลง กลุ่มก๊าชเหลวกลุ่มก๊าชและอนุภาคก็เริ่มมาจับกลุ่มกันได้หนาแน่นขึ้น เกิดแรงดึงเข้าสู่ศูนย์กลางของกลุ่มนั้นเอง ก่อเป็นกาแลคชีเล็กๆ ขึ้นมา อีกนานแสนนานๆ แล้วค่อยดึงดูดระหว่างกันรวมกันเป็นกาแลคชีที่ใหญ่ขึ้น กระจายอยู่ในกลุ่มบริเวณนั้น

         เนื่องจากการเกิดระเบิดยิ่งกว่าชุปเปอรโนวา ในครั้งที่นานๆ ๆ มาแล้วนั้น พลังงานต่างๆ ถูกกระจายออกไปจากศูยณ์กลางจนแรงผลักหมด ก็จะเกิดเป็นโปรงช่องว่างของพลังงานขึ้น เกิดสะภาวะพลังงานย้อนกลับส่วนหนึ่ง พลังงานย้อนกลับนี้น้อยกว่าพลังงานตอนระเบิดยิ่งกว่าชุปเปอร์โนวา มากมายนัก แต่เป็นผลเพื่อทำให้พลังงานเฉลี่ยในอาวกาศตรงโพรงช่วงว่างของพลังงานลดน้อยลง ก็ทำให้กาแลคชีเกิดใหม่หยุดการกระจายออกไปกว่านั้น ถ้าไม่เกิดพลังงานย้อนกลับ กลุ่มก๊าชเหลวหรือก๊าชและอนุภาคต่างๆ ก็จะกระจัดกระจายออกไปไม่สิ้นสุดเพราะแรงเฉยเดิมที่เกิดจากการระเบิดยิ่งกว่าชูปเปอรโนวานั้น และเพราะว่า กลุ่มกาแลคชี(Cluster)ในอาณาบริเวณอื่นๆ นั้นอยู่ไกลมากๆ หลายๆ ล้านปีแสง จึงไม่มีผลที่จะมีแรงดึงดูดระหว่างมวลกับกลุ่มก๊าชเหลวและก๊าชและอนุภาคนั้นได้ แต่พลังงานที่ระเอียดนั้นยังถ่ายเทกันได้บ้าง ในครั้งที่เกิดการระเบิดใหญ่นั้น ต่อมา เมื่อเวลาผ่านไปอีกนานแสนนานๆ กาแลคชีใหม่ก็ก่อตัวขึ้น ถ้ากาแลคชีใหม่ก่อตัวอยู่ใกล้ๆ ก็จะดึงดูดกันมารวมกันเป็นกาแลคชีใหญ่ขึ้น ส่วนกาแลคชีใหม่อื่นๆ ที่ก่อตัวขึ้นใหม่เหล่านั้น หรืออาจจะก่อตัวเป็นกาแลคชีมานานกว่า คือเก่ากว่า ก็จะค่อยๆ ดึงดูดระหว่างกันมารวมตัวกันในที่สุด  ทั้งๆ ที่ระบบยูนิเวิลด์ทั้งหมดทั้งมวลที่ไม่มีสิ้นสุดนั้น ก็เคลื่อนที่กันอยู่อย่างอิสระตามกฏของการทรงมวลและทรงพลังงานเป็นหย่อมๆ สับเปลี่ยนกันไป ทั่วทั้งอนาบริเวณที่หาที่สุดไม่ได้นั้น

         มากล่าวถึงกลุ่มกาแลคชีไม่ว่าเพิ่งเกิดใหม่หรือเก่ากว่า ที่กระจายออกไปนั้น เมื่อหยุดการกระจายออกจากแรงระเบิดครั้งนั้น ก็จะค่อยรวมตัวกันอีกครั้ง เป็นวัฐจักรที่ไม่คงตัวในรายละเอียด แต่เกิดดับๆ อยู่อย่างนี้หาที่สุดไม่ได้

-----------------------------------------------จบสมมุติฐานใหม่ของผม----------------------------------------------------

   ต่อไปก็อ้างอิงข้อมูลจากภาพของทางนาช่า เพื่อสนับสนุนสมมุติฐานของผม ที่กล่าวว่ากาแลคชีที่อยู่ในกลุ่ม Cluster เดียวกัน ไม่ว่าจะเกิดใหม่หรือเก่าแก่แล้ว เมื่ออยู่ใกล้กัน ก็จะดึงดูดกันรวมกันด้วยแรงดึงดูดระหว่างมวล ดังภาพข้างล่างนี้                     

                        

        ตามภาพอาจเป็นกาแลคชีที่อาจเกิดขึ้นมาใหม่แต่อยู่ใกล้กันก็พยายามดึงดูดมารวมกันให้เป็นกาแลคชีที่ใหญ่ขึ้น

      ผมขอยกข้อมูลภาษาอังกฤษให้ลองไปอ่านดู (ไม่เก่งภาษาอังกฤษ์ผมจึงถอดความลำบาก)แต่ความหมายเหมือนดังข้างบน

         Star Clusters Born Among the Interacting Galaxies of Stephan's Quintet
                       STScI-PRC2001-22

           This close-up view of Stephan's Quintet, a group of five galaxies, reveals a string of bright star clusters that sparkles like a diamond necklace. The clusters, each harboring up to millions of stars, were born from the violent interactions between some members of the group. The rude encounters also have distorted the galaxies' shapes, creating elongated spiral arms and long, gaseous streamers.
           The NASA Hubble Space Telescope photo showcases three regions of star birth: the long, sweeping tail and spiral arms of NGC 7319 [near center]; the gaseous debris of two galaxies, NGC 7318B and NGC 7318A [top right]; and the area north of those galaxies, dubbed the northern starburst region [top left].
              The clusters' bluish color indicates that they're relatively young. Their ages span from about 2 million to more than 1 billion years old.
The brilliant star clusters in NGC 7318B's spiral arm (about 30,000 light-years long) and the northern starburst region are between 2 million and more than 100 million years old. NGC 7318B instigated the starburst by barreling through the region. The bully galaxy is just below NGC 7318A at top right. Although NGC 7318B appears dangerously close to NGC 7318A, it's traveling too fast to merge with its close neighbor. The partial galaxy on the far right is NGC 7320, a foreground galaxy not physically bound to the other galaxies in the picture.
             About 20 to 50 of the clusters in the northern starburst region reside far from the coziness of galaxies. The clusters were born about 150,000 light-years from the nearest galaxy.
           A galaxy that is no longer part of the group triggered another collision that wreaked havoc. NGC 7320C [not in the photo] plowed through the quintet several hundred million years ago, pulling out the 100,000 light-year-long tail of gaseous debris from NGC 7319. The clusters in NGC 7319's streaming tail are 10 million to 500 million years old and may have formed at the time of the violent collision. The faint bluish object at the tip of the tail is a young dwarf galaxy, which formed in the gaseous debris.
        The quintet is in the constellation Pegasus, 270 million light-years from Earth. Spied by Edouard M. Stephan in 1877, Stephan's Quintet is the first compact group ever discovered.
          The mosaic picture was taken by Hubble's Wide Field and Planetary Camera 2 on Dec. 30, 1998 and June 17, 1999.
Image Credits: NASA, Jayanne English (University of Manitoba), Sally Hunsberger (Pennsylvania State University), Zolt Levay (Space Telescope Science Institute), Sarah Gallagher (Pennsylvania State University), and Jane Charlton (Pennsylvania State University)
Science Credits: Sarah Gallagher (Pennsylvania State University), Jane Charlton (Pennsylvania State University), Sally Hunsberger (Pennsylvania State University), Dennis Zaritsky (University of Arizona), and Bradley Whitmore (Space Telescope Science Institute)
      Image Type: Astronomical
       STScI-PRC2001-22

                                                           กลับที่เดิม